เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรงกปภ. คืนเงินประกันการใช้น้ำ แก่ลูกค้าทั่วประเทศเกือบ 460 ล้านบาท

ว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง กปภ. คืนเงินประกันการใช้น้ำ แก่ลูกค้าทั่วประเทศเกือบ 460 ล้านบาท

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เปิดให้ลูกค้าลงทะเบียนขอรับคืนเงินประกันการใช้น้ำ ตามมาตรการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID–19) ตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน 2563 เป็นต้นมา ปัจจุบัน กปภ. คืนเงินประกันการใช้น้ำแก่ลูกค้า 9 แสนราย เกือบ 460 ล้านบาท ทั้งนี้ ลูกค้าสามารถลงทะเบียนผ่านช่องทางออนไลน์ของ กปภ. โดยไม่มีกำหนดปิดรับการลงทะเบียน

นายสมบูรณ์ สุนันทพงศ์ศักดิ์ ผู้ว่าการการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 

เปิดเผยว่า กปภ. เปิดให้ลูกค้าลงทะเบียนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อขอรับคืนเงินประกันการใช้น้ำตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน 2563 และเริ่มคืนเงินประกันการใช้น้ำตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2563 มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นหนึ่งในมาตรการบรรเทาความเดือดร้อนและช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID–19) ทั่วประเทศ (ยกเว้น กรุงเทพมหานคร นนทบุรี สมุทรปราการ และระบบประปาที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

โดย กปภ. คืนเงินประกันการใช้น้ำตามมาตรการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID–19) ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2563 – ปัจจุบัน แก่ลูกค้า 922,683 รายเป็นจำนวนเงินเกือบ 460 ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564) สำหรับลูกค้าที่ลงทะเบียนและทำรายการสำเร็จ ผ่านช่องทางการรับเงินที่ลูกค้าได้แจ้งความประสงค์ไว้ ผ่าน 2 ช่องทาง ได้แก่ 1. บัญชีธนาคารกรุงไทย 2. บัญชีพร้อมเพย์ที่ผูกกับบัตรประชาชน

นายสมบูรณ์ สุนันทพงศ์ศักดิ์ ผู้ว่าการ กปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่า ลูกค้าที่มีความประสงค์ขอรับคืนเงินประกันการใช้น้ำแต่ยังไม่ได้ลงทะเบียน สามารถยื่นความประสงค์ผ่านช่องทางออนไลน์ของ กปภ. โดยไม่มีกำหนดปิดรับการลงทะเบียน ผ่าน 3 ช่องทาง ดังนี้ 1. เว็บไซต์ของ กปภ. www.pwa.co.th 2. แอปพลิเคชัน PWA1662 และ 3. PWA Line Official: @pwathailand เลือกทำรายการเพียงช่องทางเดียวเท่านั้น ลูกค้าสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ PWA Contact Center โทร. 1662 ตลอด 24 ชั่วโมง

พบหินพญานาคในช่องหุบเขาน้ำ สำนักสงฆ์ห้วยหินแหบ ส่วนหัว ลำตัวทอดยาวในแอ่งน้ำ ครูบากล่าวบวงสรวงปู่ย่าแล้ว ลูกหลานพญานาคก็มาจากทุกหนแห่ง

คำเตือน เป็นความเชื่อส่วนบุคคลโปรดใช้วิจารณญาณในการเสพบทความ – วันที่ 24 พ.ย.64 เฟซบุ๊กแฟนเพจ Buengkan day ได้เปิดเผยเรื่องราวเกี่ยวกับก้อนหินในถ้ำแห่งหนึ่ง โดยเป็นคลิปความยาว 3 นาที กับ 42 วินาที ภายในเขตพื้นที่สำนักสงฆ์ ห้วยหินแหบ บ้านโนนศิลา ต.โพธิ์หมากแข้ง อ.บึงโขลง จ.บึงกาฬ ซึ่งสร้างความฮือฮาเพราะมีการระบุข้อมูลว่า เป็นหินพญานาคในช่องหุบเขาน้ำ โดยมีลักษณะคล้ายส่วนหัวและลำตัวทอดยาวอยู่ในแอ่งน้ำ

ในเรื่องราวที่บอกต่อๆ กันมา ทิศเบื้องนี้คือ ป่าบังบด ผมมองไปโดยรอบ เห็นแต่ป่าและแนวหิน เผลอคิดภาพจินตนาการตาม ป่าบังบดในทิศนี้และหันกลับไปมองตรงหินรูปพญานาคยาวเป็นสิบเมตร จากธรรมชาติ จินตนาการ และจิตวิญญาณ เป็นความศรัทธาประการหนึ่งของเรา

สำหรับ สำนักสงฆ์ห้วยหินแหบนี้ถือเป็นอีกหนึ่งสถานที่อันซีน (Unseen) ของจังหวัดบึงกาฬ อ้างอิงจากเฟซบุ๊กแฟนเพจ คนเซกา เมืองบึงกาฬ ระบุ สำนักสงฆ์แห่งนี้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของผู้มีศีล ตั้งอยู่บนบ้านโนนศิลา ต.โพธิ์หมากแข้ง อ.บึงโขงหลง เป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่เชื่อกันว่าเกี่ยวพันกับสายนาคา โดยเฉพาะก้อนหินที่ที่มีลักษณะแปลกตาที่มองดูคล้ายลำตัวของสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ซึ่งคนโบราณของที่นี่เรียกว่าหินแข่ (หินจรเข้) แต่ถ้ามองในอีกความเชื่อหนึ่งหินก้อนนี้ก็มีลักษณะเหมือนหินงูขนาดใหญ่หรือหินพญานาคนั้นเอง ขึ้นอยู่กับความเชื่อและวิจารณญาณของแต่ละบุคคล

นอกจากนี้ที่สำนักสงฆ์แห่งนี้ยังมีรูปปั้นปู่ศรีสุทโธและย่าศรีประทุมมา ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ปกปักรักษาสถานที่แห่งนี้

ชวนรับชม Museum of First Time – ‘ครั้งแรกของเธอเลือดออกมั้ย?’

Museum of First Time – ‘ครั้งแรกของเธอเลือดออกมั้ย?’ มาสัมผัสประสบการณ์พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง ที่สร้างจากเรื่องจริง ของผู้หญิงที่ไม่เคยลืมครั้งแรกของเธอได้เลย

มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล ร่วมกับ วันเดอร์แมน ธอมสัน ประเทศไทยชวนคุณสัมผัสประสบการณ์ Virtual Museum กับคอนเซ็ปต์ “พิพิธภัณฑ์ของครั้งแรก” ครั้งแรกของเมืองไทยกับพิพิธภัณฑ์ที่สร้างจากเรื่องจริงของเหยื่อที่ถูกทำร้ายร่างกาย

กรุงเทพฯ (25 พฤศจิกายน 2564) – จากสถิติของผู้หญิงที่ถูกทำร้ายในช่วงโควิด-19 ในกรณีศึกษาประชาชนอายุ 20 ปีขึ้นไป ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,692 คน ซึ่งเก็บข้อมูลวันที่ 17-23 ตุลาคม 2564 พบว่า พฤติกรรมที่สะท้อนปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ได้แก่ ความรุนแรงทางวาจา(การพูดส่อเสียด ดูถูก ด่าทอ) ร้อยละ 53.1 รองลงมา ไม่รับผิดชอบต่อครอบครัว ร้อยละ 35.0 ทำให้รู้สึกอับอาย ประจานกันผ่านสังคมออนไลน์ ร้อยละ 22.6 ทำร้ายร่ายกาย ร้อยละ 20.2 นอกใจคบชู้ ร้อยละ 18.9 และยังพบว่าผู้กระทำทำขณะเมาเหล้าหรือหลังจากดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 31.4

โดยตั้งแต่ปี 2563 จนถึงปัจจุบันมีผู้หญิงที่ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เข้ามาขอคำปรึกษาจากฝ่ายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ มูลนิธิหญิงชายก้าวไกลจำนวน 71 ราย พบว่าทุกเคส หรือ 100% ถูกกระทำซ้ำ นั่นหมายถึงผู้หญิงเหล่านี้ถูกกระทำความรุนแรงจากคนในครอบครัวมามากกว่าหนึ่งครั้ง และมักจะใจอ่อน เมื่อฝ่ายชายขอโทษหรือกลับมาทำดีให้ และถูกทำร้ายอีกนับครั้งไม่ถ้วน เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง